วันพุธที่ 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2562

BIGDATA

BIG DATA บิ๊กดาต้า


เป็นอภิมหาข้Œอมูลขนาดใหญ‹ที่กระจัดกระจายอยู่ทั้งภายในองค์กรและภายนอกองค์กร ซึ่งเป็šนปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจากพัฒนาการของเทคโนโลยี และระบบต่างๆ ที่เป็นไปอย‹างก้าวกระโดดในยุคปัจจุบัน ทำให้องค์กรมีการเก็บข้Œอมูลอย่างมากมายมหาศาลแบบที่ไม่เคยเป็นมาก่อน โดยประชากรทุกคนถือเป็šนผู้สร้Œางข้Œอมูล (Data Generator) ได้ในทุกที่ทุกเวลา ตลอดจนกิจกรรมต่างๆ ที่ทุกคนสามารถสร้Œางข้อมูลใหม่ๆ ขึ้นมาบนโลกได้Œเสมอ เพียงแต่‹ข้อมูลเหล่านี้อาจจะไม่ได้อยู่ในรูปแบบที่องค์กรสามารถนำไปใช้ได้ทันทีหรืออาจมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อองค์กรบางอย่างแฝงอยู่ 

การวิเคราะห์ข้อมูล

จากเดิมที่องค์กรมีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ข้อมูลภายในองค์กรเป็นหลัก ด้วยการ รวมศูนย์ฐานข้อมูลหลักขององค์กรไว้ที่เดียวกัน (Enterprise Data Warehouse) โดยนำเอาข้อมูลจากหลายๆ หน่วยงานมาประมวลผลรวมกัน เพื่อใช้ในการดำเนินงานและตัดสินใจเชิงธุรกิจ แต‹ในปัจจุบันองค์กรต่างๆ เริ่มให้ความสำคัญกับข้อมูลที่อยู่ภายนอกองค์กรมากขึ้นเนื่องมาจากการการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูŒบริโภค เช่น การหาข้อมูลเพื่อตัดสินใจซื้อ วิธีการซื้อสินคŒาและบริการ การแสดงความคิดเห็นต่อสินค้าและบริการผ่านช่องทางออนไลนที่มีแนวโน้มสูงขึ้น และการตอบรับของผู้บริโภคต่อเทคโนโลยีที่เป็นอุปกรณ์ ติดตามตัวต่างๆ มากขึ้น ทำให้จัดเก็บข้อมูลใหม่ที่หลากหลายรูปแบบและมีจำนวนมาก โดยข้อมูลเหล่านี้สามารถนำไปวิเคราะห์ เพื่อใหŒเกิดประโยชน์อย่างมากมายต่อธุรกิจ 

IOT internet of thing



Internet of Things (IoT) คือ การที่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ สามารถเชื่อมโยงหรือส่งข้อมูลถึงกันได้ด้วยอินเทอร์เน็ต โดยไม่ต้องป้อนข้อมูล การเชื่อมโยงนี้ง่ายจนทำให้เราสามารถสั่งการควบคุมการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้ ไปจนถึงการเชื่อมโยงการใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ผ่านทางเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเข้ากับการใช้งานอื่นๆ จนเกิดเป็นบรรดา Smart ต่างๆ ได้แก่ Smart Device, Smart Grid, Smart Home, Smart Network, Smart Intelligent Transportation ทั้งหลายที่เราเคยได้ยินนั่นเอง ซึ่งแตกต่างจากในอดีตที่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็นเพียงสื่อกลางในการส่งและแสดงข้อมูลเท่านั้น

กล่าวได้ว่า Internet of Things นี้ได้แก่การเชื่อมโยงของอุปกรณ์อัจฉริยะทั้งหลายผ่านอินเทอร์เน็ตที่เรานึกออก เช่น แอปพลิเคชัน แว่นตากูเกิลกลาส รองเท้าวิ่งที่สามารถเชื่อมต่อข้อมูลการวิ่ง ทั้งความเร็ว ระยะทาง สถานที่ และสถิติได้

นอกจากนั้น Cloud Storage หรือ บริการรับฝากไฟล์และประมวลผลข้อมูลของคุณผ่านทางออนไลน์ หรือเราเรียกอีกอย่างว่า แหล่งเก็บข้อมูลบนก้อนเมฆ เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่เราใช้งานบ่อยๆแต่ไม่รู้ว่าเป็นหนึ่งในรูปแบบของ Internet of Things สมัยนี้ผู้ใช้นิยมเก็บข้อมูลไว้ในก้อนเมฆมากขึ้น เนื่องจากมีข้อดีหลายประการ คือ ไม่ต้องกลัวข้อมูลสูญหายหรือถูกโจรกรรม ทั้งยังสามารถกำหนดให้เป็นแบบส่วนตัวหรือสาธารณะก็ได้ เข้าถึงข้อมูลได้ทุกที่ทุกเวลาด้วยอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใดๆผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต แถมยังมีพื้นที่ใช้สอยมาก มีให้เลือกหลากหลาย ช่วยเราประหยัดค่าใช้จ่ายได้อีกด้วย เนื่องจากเราไม่ต้องเสียเงินซื้ออุปกรณ์จัดเก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดไดร์ฟ หรือ Flash drive ต่างๆ

แนวคิด Internet of Things


เดิมมาจาก Kevin Ashton บิดาแห่ง Internet of Things ในปี 1999 ในขณะที่ทำงานวิจัยอยู่ที่มหาวิทยาลัย Massachusetts Institute of Technology หรือ MIT เขาได้ถูกเชิญให้ไปบรรยายเรื่องนี้ให้กับบริษัท Procter & Gamble (P&G)  เขาได้นำเสนอโครงการที่ชื่อว่า  Auto-ID Center ต่อยอดมาจากเทคโนโลยี RFID ที่ในขณะนั้นถือเป็นมาตรฐานโลกสำหรับการจับสัญญาณเซ็นเซอร์ต่างๆ( RFID Sensors) ว่าตัวเซ็นเซอร์เหล่านั้นสามารถทำให้มันพูดคุยเชื่อมต่อกันได้ผ่านระบบ Auto-ID ของเขา โดยการบรรยายให้กับ P&G ในครั้งนั้น Kevin ก็ได้ใช้คำว่า Internet of Things ในสไลด์การบรรยายของเขาเป็นครั้งแรก โดย Kevin นิยามเอาไว้ตอนนั้นว่าอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใดๆก็ตามที่สามารถสื่อสารกันได้ก็ถือเป็น “internet-like” หรือพูดง่ายๆก็คืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่สื่อสารแบบเดียวกันกับระบบอินเตอร์เน็ตนั่นเอง โดยคำว่า “Things” ก็คือคำใช้แทนอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆเหล่านั้น


ยุค​5​G


                                         ยุค​5​ G


มาเคลมว่าตัวเองรองรับ 5G กัน แต่หลายๆคนก็อาจจะงงว่า 5G แล้วยังไงเหรอ มันก็แค่เน็ตเร็วขึ้นกว่าเดิมรึเปล่า ตอนนี้ก็สามารถเล่นเฟสดูยูทูปได้ก็พอแล้วนี่นาจะเอาอะไรมากกว่านี้อีก วันนี้เดี๋ยวผมจะเอามาเล่าให้ฟังเพิ่มเติมกันครับ ว่า 5G วันนี้อาจจะฟังดูไกลตัว แต่มันกลับใกล้ชีวิตเรามากกว่าที่คิดเลยล่ะครับ

5G คืออะไร?

5G ที่เราเรียกๆกันอยู่นี่ มันย่อมาจาก เจนเนอเรชั่นที่ 5 ของการสื่อสารด้วยโทรศัพท์มือถือ (5th Generation of Cellular Mobile Communications) ซึ่งปัจจุบันได้มีข้อกำหนดออกมาเกือบสมบูรณ์แล้วและเตรียมจะประกาศใช้ในช่วงปี 2020 ที่จะถึงนี้ ปัจจุบันเราจะได้เห็นการเตรียมพร้อมของแต่ละเครือข่ายทั่วโลกพัฒนาตนเองให้รองรับการมาของ 5G ตั้งแต่ปีหน้ากันแล้ว โดยคุณสมบัติของเครือข่ายที่จะเรียกตัวเองว่า 5G ได้นั้นจะมีดังนี้
  • ความเร็วสูงสุด 10Gbps
  • Latency ระยะเวลาการเชื่อมต่อไปยังปลายทาง น้อยกว่า 0.001 วินาที
  • มีความเสถียรใช้งานได้ 99.9999%
  • ครอบคลุมพื้นที่ 100%
  • มี Bandwidth เพิ่มขึ้น 1000 เท่าในแต่ละพื้นที่
  • รองรับการเชื่อมต่อจากอุปกรณ์ เพิ่มขึ้น 100 เท่า ในแต่ละพื้นที่
  • ใช้พลังงานในการเชื่อมต่อน้อยลง 90%
  • อุปกรณ์ IoT พลังงานต่ำเมื่อเชื่อมต่อแบตจะมีอายุการใช้งานได้ถึง 10 ปี





แต่ละ Generation มีการพัฒนาอย่างไรบ้าง
  • 1G การคุยกันด้วยเสียง
  • 2G รองรับการส่งข้อความหากัน
  • 3G เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตทั่วไป
  • 4G ดูภาพและเสียงได้
  • 5G การเชื่อมต่อสิ่งของทุกสรรพสิ่ง

ความเปลี่ยนแปลงจาก 4G → 5G

เพื่อให้เห็นภาพมากขึ้นเดี๋ยวมาดูกันเพิ่มเติมว่าเมื่อเทียบกับ 4G แล้ว 5G มีอะไรเปลี่ยนแปลงบ้าง

วันพุธที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2562


AI ปัญญาประดิษฐ์



ปัญญาประดิษฐ์  (AI : Artificial Intelligence)  คือ
เครื่องจักร(machine) ที่มีฟังก์ชันทีมีความสามารถในการทำความเข้าใจ เรียนรู้องค์ความรู้ต่างๆ อาทิเช่น การรับรู้  การเรียนรู้ การให้เหตุผล และการแก้ปัญหาต่างๆ  เครื่องจักรที่มีความสามารถเหล่านี้ก็ถือว่าเป็น ปัญญาประดิษฐ์  (AI : Artificial Intelligence) นั่นเอง
เพราะฉะนั้นจึงสามารถกล่าวได้ว่า AI ถือกำเนิดขึ้นเมื่อเครื่องจักรมีความสามารถที่จะเรียนรู้นั่นเอง  ซึ่ง AI ก็ถูกแบ่งออกเป็นหลายระดับตามความสามารถหรือความฉลาด  โดยจะวัดจากความสามารถในการ ให้เหตุผล การพูด และทัศนคติของ AI ตัวนั้นๆ เมื่อเปรียบเทียบกับมนุษย์อย่างเราๆ
AI ถูกจำแนกเป็น 3 ระดับตามความสามารถหรือความฉลาดดังนี้
1 ) ปัญญาประดิษฐ์เชิงแคบ (Narrow AI ) หรือ ปัญญาประดิษฐ์แบบอ่อน (Weak AI) : คือ  AI ที่มีความสามารถเฉพาะทางได้ดีกว่ามนุษย์(เป็นที่มาของคำว่า Narrow(แคบ) ก็คือ AI ที่เก่งในเรื่องเเคบๆหรือเรื่องเฉพาะทางนั่นเอง)  อาทิ เช่น AI ที่ช่วยในการผ่าตัด(AI-assisted robotic surgery)  ที่อาจจะเชี่ยวชาญเรื่องการผ่าตัดกว่าคุณหมอยุคปัจจุบัน  แต่แน่นอนว่า AIตัวนี้ไม่สามารถที่จะทำอาหาร ร้องเพลง หรือทำสิ่งอื่นที่นอกเหนือจากการผ่าตัดได้นั่นเอง  ซึ่งผลงานวิจัยด้าน AI ณ ปัจจุบัน ยังอยู่ที่ระดับนี้
2 ) ปัญญาประดิษฐ์ทั่วไป (General AI )  : คือ AI ที่มีความสามารถระดับเดียวกับมนุษย์ สามารถทำทุกๆอย่างที่มนุษย์ทำได้และได้ประสิทธิภาพที่ใกล้เคียงกับมนุษย์
3) ปัญญาประดิษฐ์แบบเข้ม (Strong AI ) : คือ AI ที่มีความสามารถเหนือมนุษย์ในหลายๆด้าน

BIGDATA

BIG DATA บิ๊กดาต้า เป็นอภิมหาข้Œอมูลขนาดใหญ‹ที่กระจัดกระจายอยู่ทั้งภายในองค์กรและภายนอกองค์กร ซึ่งเป็šนปรากฏการณ์ที่เกิดข...